Skip to main content

วิทยาลัยการอาชีพขุนหาญ

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)


การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
( Integrity and Transparency Assessment)
ระบบช่วยตรวจสอบข้อมูล สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
วิทยาลัยการอาชีพขุนหาญ


[ ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล ]

เป็นแบบวัดที่ให้ผู้ตอบเลือกตอบมีหรือไม่มีการเปิดเผยข้อมูล พร้อมทั้งระบุ URL เพื่อเชื่อมโยงไปสู่แหล่งที่อยู่ของการเปิดเผยข้อมูล และระบุคําอธิบายเพิ่มเติมประกอบคําตอบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บข้อมูลจากเว็บไซต์ของสถานศึกษา โดยเป็นการประเมินระดับการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะของสถานศึกษาเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลในเว็บไซต์หลักของสถานศึกษาได้ ใน 2 ตัวชี้วัด ได้แก่

ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล (O01 – O29) ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัดย่อย ได้แก่

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐาน (O01 – O06)
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 การบริหารงาน (O07 – O16)
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.3 การบริหารเงินงบประมาณ (O17 – 022)
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล (O23 – O25)
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส (O26 – O29)

ข้อข้อมูลองค์ประกอบด้านข้อมูลการเผยแพร่ข้อมูล
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐาน

ข้อมูลพื้นฐาน
o1โครงสร้าง– แสดงแผนผัง แสดงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของ สถานศึกษา
– แสดงตำแหน่งที่สำคัญและการแบ่งส่วนงานภายใน ยกตัวอย่างเช่น ฝ่าย งาน แผนกวิชา เป็นต้น
ดูข้อมูลโครงสร้างวิทยาลัยฯ
o2ข้อมูลผู้บริหาร– แสดงข้อมูลของผู้อำนวยการสถานศึกษา และรองผู้อำนวยการสถานศึกษาอย่างน้อยประกอบด้วย ดังนี้
1) ชื่อ-นามสกุล
2) ตำแหน่ง
3) รูปถ่าย
4) ช่องทางการติดต่อ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ หรือ Line  หรือ E-mail เป็นต้น (ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง)
ดูข้อมูลผู้บริหาร
o3อำนาจหน้าที่แสดงข้อมูลหน้าที่และอำนาจของสถานศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด เช่น คำสั่งมอบหมายหน้าที่ของสถานศึกษา
ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา เป็นต้น
o4แผนพัฒนา สถานศึกษา– แสดงแผนการดำเนินภารกิจของสถานศึกษาที่มีระยะมากกว่า 1 ปี
– มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯอย่างน้อยประกอบด้วย ดังนี้
1) ยุทธศาสตร์หรือแนวทาง
2) เป้าหมาย
3) ตัวชี้วัด
– เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปีงบประมาณปัจจุบัน
o5ข้อมูลการติดต่อ– แสดงข้อมูลการติดต่อของสถานศึกษาอย่างน้อยประกอบด้วย ดังนี้
1) ที่อยู่สถานศึกษา
2) หมายเลขโทรศัพท์
3) E-mail
4) แผนที่ตั้ง
o6กฏหมายที่เกี่ยวข้อง– แสดงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานหรือการปฏิบัติงานของสถานศึกษา เช่น แผนการศึกษาแห่งชาติ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการใช้มาตรฐานการอาชีวศึกษา
ระดับ ปวช. และ ปวส. เป็นต้น
การบริหารงาน
o7ข่าวประชาสัมพันธ์– แสดงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตาม อำนาจหน้าที่หรือภารกิจ ของสถานศึกษาเป็นข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณปัจจุบัน
การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล
o8Q&A– แสดงตำแหน่งบนเว็บไซต์ของสถานศึกษาที่บุคคลภายนอก สามารถสอบถามข้อมูลต่าง ๆ ได้ และหน่วยงานสามารถสื่อสารให้คำตอบกับ ผู้สอบถามได้
โดยมีลักษณะเป็นการสื่อสารได้สองทางบนหน้าเว็บไซต์ของสถานศึกษา (Q&A) ยกตัวอย่าง เช่น Web board, กล่องข้อความถาม-ตอบ,Messenger Live Chat, Chatbot เป็นต้น
o9Social Network– แสดงตำแหน่งบนเว็บไซต์ของสถานศึกษาหรือช่องทางที่สามารถเชื่อมโยงไปยังเครือข่ายสังคมออนไลน์ของสถานศึกษา ยกตัวอย่าง เช่น Facebook, Twitter, Instagram, Tiktok เป็นต้น
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 การบริหารงาน
การดำเนินงาน
o10แผนดำเนินงานประจำปี– แสดงแผนการดำเนินภารกิจของสถานศึกษาที่มีระยะ 1 ปี
– มีข้อมูลรายละเอียดของแผนอย่างน้อยประกอบด้วย ดังนี้
1) โครงการหรือกิจกรรม
2) งบประมาณที่ใช้
3) ระยะเวลาในการดำเนินการ
– เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ในปีงบประมาณปัจุบัน
o11รายงานผลการดําเนินงานประจําปี– แสดงผลการดำเนินงานตามแผนดำเนินงานประจำปี
– มีข้อมูลรายละเอียดสรุปผลการดำเนินงานย้อนหลัง 1 ปีงบประมาณอย่างน้อยประกอบด้วยดังนี้
1) ผลการดำเนินโครงการหรือกิจกรรม
2) ผลการใช้จ่ายงบประมาณ
3) ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
(หากไม่มีปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ให้เขียนบอกว่า"ไม่มีปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ"แต่ต้องปรากฎรายละเอียดครบทั้ง 3 องค์ประกอบ)
o12คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน– แสดงคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานที่เจ้าหน้าที่ของสถานศึกษาที่ใช้ยึดถือปฏิบัติให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
– มีข้อมูลหรือรายละเอียดการปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 คู่มือซึ่งเป็นคู่มือการปฏิบัติภารกิจใดสำหรับเจ้าหน้าที่หรือพนักงานตำแหน่งใด กำหนดวิธีการขั้นตอนการปฏิบัติอย่างไร เช่น  คู่มือการปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่งานพัสดุ งานการเงิน เป็นต้น
การปฏิบัติงาน
o13คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน– แสดงคู่มือการให้บริการประชาชนหรือคู่มือแนวทางการปฏิบัติที่ผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อกับสถานศึกษา ซึ่งใช้เป็นข้อมูลในการขอรับบริการหรือติดต่อกับสถานศึกษา
– มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติอย่างน้อย 1 คู่มือซึ่งกำหนดวิธีการขั้นตอนการให้บริการหรือการติดต่ออย่างไร ตัวอย่างเช่น คู่มือการให้บริการงานการเงิน, คู่มือนักเรียนนักศึกษา, คู่มือการลงทะเบียนสำหรับนักเรียนนักศึกษา, คู่มือการให้บริการประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
o14ข้อมูลเชิงสถิติ การให้บริการ– แสดงข้อมูลสถิติการให้บริการสถานศึกษา
– สามารถจัดทำข้อมูลแบบเป็นรายเดือน หรือไตรมาส ราย 6 เดือน ที่มีครอบคุลม ในระยะเวลา 6 เดือนแรกของ ปีงบประมาณปัจจุบัน
– เป็นข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการจากสถานศึกษา เช่น ความพึงพอใจในการบริการ Fix it ช่วงเทศกาลปีใหม่, จำนวนผู้ใช้บริการห้องสมุดสถานศึกษา เป็นต้น
o15ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ– แสดงผลสำรวจความพึงพอใจการให้บริการของสถานศึกษา เช่น ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของ
ผู้สอน, ความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการ, ความพึงพอใจการจัดงานกีฬาสี เป็นต้น
– เป็นรายงานผลย้อนหลัง 1 ปีงบประมาณ
o16รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ– แสดงช่องทางการให้บริการข้อมูลหรือธุรกรรมภาครัฐที่สอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงานที่ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้ขอรับบริการ ไม่จำเป็นต้องเดินทางมายัง สถานศึกษา เช่น การร้องเรียน ร้องทุกข์,การประสานงานใช้สถานที่ ,ระบบ ศธ.02, ระบบ RMS เป็นต้น
– สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นจากเว็บไซต์หลักของสถานศึกษา
o17E-Service– แสดงแผนการใช้จ่ายงบประมาณของสถานศึกษาที่มีระยะเวลา 1 ปี มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯอย่างน้อยประกอบด้วย ดังนี้
1) งบประมาณตามแหล่งที่ได้รับการจัดสรร
2) งบประมาณตามประเภทรายการใช้จ่าย
– เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ในปีงบประมาณปัจจุบัน





045-826363 ,045-826364